ระบบเศรษฐกิจ
๖.๑
การเกษตร
ลักษณะการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตเทศบาลตำบลชำนิ ประชากรส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 85 ประกอบอาชีพ ดังนี้
- การเพาะปลูก ในเขตเทศบาลตำบลชำนิ มีการเพาะปลูกพืชที่สำคัญ คือ
การเพาะปลูกข้าว ซึ่งมีการเพราะปลูกมากกว่าพืชชนิดอื่น พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ราบจึงเหมาะแก่การปลูกข้าว นอกจากการปลูกข้าวแล้วยังมีการปลูกผลไม้และพืชผักด้วย
๖.๒
การประมง
(ในเขตเทศบาลไม่มีการประมง)
๖.๓
การปศุศัตว์
- เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม
เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ จำนวนสัตว์ในพื้นที่โดยประมาณ
๖.๔
การบริการ
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร 1 แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
สถานีขนส่ง - แห่ง
ร้านเกมส์ - แห่ง
๖.๕
การท่องเที่ยว
ในเขตเทศบาลไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ
๖.๖
อุตสาหกรรม
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
(โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน ๑4 แห่ง
๖.๗
การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
การพาณิชย์
ธนาคาร ๑ แห่ง สถานีบริการน้ำมัน 3 แห่ง
บริษัท - แห่ง ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า - แห่ง
ห้างหุ้นส่วนจำกัด - แห่ง ตลาดสด - แห่ง
ร้านค้าต่างๆ - แห่ง โรงฆ่าสัตว์ - แห่ง
ซุปเปอร์มาเก็ต ๑ แห่ง
๖.๘
แรงงาน
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ ปัญหาที่พบคือ
ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ
เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
๗.
เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
๗.๒
ข้อมูลด้านการเกษตร
การเกษตรกรรม
ลักษณะการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตเทศบาลตำบลชำนิ
ประชากรส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 85
ประกอบอาชีพ ดังนี้
- การเพาะปลูก ในเขตเทศบาลตำบลชำนิ มีการเพาะปลูกพืชที่สำคัญ คือ การ
เพาะปลูกข้าว ซึ่งมีการเพราะปลูกมากกว่าพืชชนิดอื่น พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ราบจึงเหมาะแก่การปลูกข้าว นอกจากการปลูกข้าวแล้วยังมีการปลูกผลไม้และพืชผักด้วย
๗.๓
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
(๑) พื้นที่ตำบลชำนิ
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร)
กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1)
ปริมาณน้ำฝน
|
ü
|
|
900 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2)
แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
¨ 1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. ห้วย/ลำธาร
|
|
|
|
|
|
|
¨ 3. คลอง
|
|
|
|
|
|
|
þ 4. หนองน้ำ/บึง
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
1
%
|
¨ 5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3)
แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
¨ 1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
¨ 3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
þ 4. สระ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
2
%
|
¨ 5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๗.๔
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
(๑) พื้นที่ตำบลชำนิ
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1
บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2
บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3
ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
ü
|
|
ü
|
|
100 %
|
4.4
ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ
(โปรดระบุ)
4.6.1)
.
4.6.2)
.
4.6.3)
.
|
ü
|
|
|
|
|
|
๘. ศาสนา
ประเพณี วัฒนธรรม
๘.๑
การนับถือศาสนา
- ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 100
วัด 3 แห่ง
๘.๒
ประเพณีและงานประจำปี
ในเขตเทศบาลตำบลชำนิ
มีประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นอื่นๆดังนี้
- งานนมัสการหลวงพ่อชำนิจ
จัดทุกวันที่ 25 มีนาคม
ของทุกปี มีการจัดขบวนแห่หลวงพ่อชำนิจ
- ประเพณีสงกรานต์
วันที่ 12-13 เมษายน
ของทุกปี
- ประเพณีเข้าพรรษา
ประมาณเดือน กรกฎาคม ของทุกปี
- ประเพณีลอยกระทง
วันขึ้น 15 ค่ำ
เดือน 12 จัดงานประเพณีลอยกระทง
๘.๓
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตเทศบาลได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม วิธีการทอเสื่อจากต้นกก และวิธีการจับปลาธรรมชาติ
ภาษาถิ่น ในเขตเทศบาลตำบลชำนิ มีภาษาถิ่นหลากหลายที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน
ภาษาถิ่นไทยนางรอง
(ไทยเบิ้ง) ภาษาเขมร
๘.๔
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
ประชาชนในเขตเทศบาลได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง
ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่
๙.
ทรัพยากรธรรมชาติ
๙.๑ น้ำ ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากแม่น้ำชี
(อยู่นอกเขต) ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา
สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งเค็ม
ไม่สามารถใช้ดื่มและอุปโภคได้
๙.๒
ป่าไม้ ในเขตเทศบาลไม่มีป่าไม้
๙.๓
ภูเขา ในเขตเทศบาลไม่มีภูเขา
๙.๔
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ของเทศบาลส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก
ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลำดับ และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ เนื่องจากว่าพื้นที่บางส่วนเป็นดินเค็ม น้ำใต้ดินก็เค็ม หรือไม่ก็เป็นน้ำกร่อย ไม่สามารถที่จะนำน้ำจากใต้ดินมาใช้ในการอุปโภค-บริโภคได้ได้
ต้องอาศัยน้ำดิบจากแหล่งอื่น และน้ำฝนน้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน
มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นของประชาชน เอกชน ปัญหาด้านขยะ เมื่อชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น การแก้ไขปัญหา
เทศบาลได้จัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน เช่น
โครงการจัดหาถังขยะรองรับขยะให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ โครงการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่างๆ
ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มรื่นสวยงาม
ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ฯลฯ
๑๐.
อื่นๆ |